0(0)

วิชา สค23031 คุณธรรมในการดำเนินชีวิต

หลักสูตรรายวิชา

โครงสร้างหนังสือรายวิชา คุณธรรมในการดำเนินชีวิต

สาระสำคัญ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คุณธรรมในการดำเนินชีวิต เป็นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้บูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีครูเป็นผู้ให้คำปรึกษาโดยให้ผู้เรียนได้ฝึกคุณธรรมในการดำเนินชีวิต และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรรายวิชาเลือก เรื่อง คุณธรรมพื้นฐานในการดํารงชีวิตซึ่งเป็นสาระวิชาที่จะเป็นประโยชน์สําหรับผู้เรียนในการส่งเสริมคุณค่าและพัฒนาชีวิต ครอบครัว สังคม

การอยู่ร่วมกันในสังคมนอกจากจะปฏิบัติตามกฏระเบียบและสิทธิและหน้าที่ของตนเองแล้วสมาชิกในสังคมควรดำเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมและจริยธรรมด้วย ซึ่งจะส่งผลให้แต่ละคนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข สังคมก็มีความสงบสุขและเจริญก้าวหน้าไปด้วย

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

  1. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของคุณธรรม จริยธรรมได้
  2. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของการดำเนินชีวิตตามหลักคุณธรรม  จริยธรรมได้
  3. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการได้
  4. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของคุณธรรมในการครองเรือนได้
  5. เพื่อให้ผู้เรียนอธิบายความหมายของทิศ 6 ปัจฉิมทิศได้

ขอบข่ายเนื้อหา

บทที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม 

เรื่องที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม

เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม

เรื่องที่ 3 ปัญหาและสาเหตุของการขาดคุณธรรม จริยธรรม

เรื่องที่ 4 แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม

เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม

บทที่ 2 การดำเนินชีวิตตามหลักคุณธรรม  จริยธรรม 

เรื่องที่ 1 คุณธรรม จริยธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน

เรื่องที่ 2 รูปแบบของการดำเนินชีวิต

เรื่องที่ 3 การดำเนินชีวิตตามแนวพุทธธรรม

บทที่ 3 เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ

เรื่องที่ 1 ความหมายความสำคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ

เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประการ

บทที่ 4 คุณธรรมในการครองเรือน

เรื่องที่ 1 คุณธรรมในการครองเรือน

เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4

เรื่องที่ 3 ฆราวาสธรรม 4

 บทที่ 5 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. 

เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ.

เรื่องที่ 2 ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว

เรื่องที่ 3 การสร้างประชาธิปไตยในครอบครัว

เรื่องที่ 4 การวางแผนเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว

สารบัญรายวิชา

6 วิดีโอ

วิชา สค23031 คุณธรรมในการดำเนินชีวิต

วิชา สค23031 คุณธรรมในการดำเนินชีวิต

แบบทดสอบก่อนเรียน

บทที่ ๑ ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม?

สาระสำคัญ คุณธรรม คือ ความดีงามในจิตใจที่ทำให้บุคคลประพฤติดี ผู้มีคุณธรรมเป็นผู้มีความเคยชินในการประพฤติดีด้วยความรู้สึกในทางดีงาม คุณธรรมเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับกิเลสซึ่งเป็นความไม่ดีในจิตใจ ผู้มีคุณธรรมจึงเป็นผู้ที่ไม่มาก ด้วยกิเลสซึ่งจะได้รับการยกย่องว่าเป็นคนดีการที่เราได้รับรู้ถึงลักษณะต่างๆและองค์ประกอบของคุณธรรมแล้วก็จะสามารถปฏิบัติตนไห้เป็นผู้มีคุณธรรมได้อย่างถูกต้อง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   1. ผู้เรียนสามารถบอกความหมายของคุณธรรม จริยธรรมได้ 2. ผู้เรียนสามารถบอกถึงคุณลักษณะของผู้ที่คุณธรรม จริยธรรมได้ 3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดปัญหาในการดำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าในการแก้ปัญหาในการเนินชีวิตและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา   เรื่องที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 3 ปัญหาและสาเหตุของการขาดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 4 แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม

บทที่ ๒ การดำเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมและจริยธรรม?

สาระสำคัญ คุณธรรม คือ ความดีงามในจิตใจที่ทำให้บุคคลประพฤติดี ผู้มีคุณธรรมเป็นผู้มีความเคยชินในการประพฤติดีด้วยความรู้สึกในทางดีงาม คุณธรรมเป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับกิเลสซึ่งเป็นความไม่ดีในจิตใจ ผู้มีคุณธรรมจึงเป็นผู้ที่ไม่มาก ด้วยกิเลสซึ่งจะได้รับการยกย่องว่าเป็นคนดีการที่เราได้รับรู้ถึงลักษณะต่างๆและองค์ประกอบของคุณธรรมแล้วก็จะสามารถปฏิบัติตนไห้เป็นผู้มีคุณธรรมได้อย่างถูกต้อง ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   1. ผู้เรียนสามารถบอกความหมายของคุณธรรม จริยธรรมได้ 2. ผู้เรียนสามารถบอกถึงคุณลักษณะของผู้ที่คุณธรรม จริยธรรมได้ 3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดปัญหาในการดำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าในการแก้ปัญหาในการเนินชีวิตและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้  ขอบข่ายเนื้อหา   เรื่องที่ 1 ความหมายของคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 2 ลักษณะของผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 3 ปัญหาและสาเหตุของการขาดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 4 แนวทางการแก้ปัญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรม เรื่องที่ 5 ประโยชน์ของคุณธรรม จริยธรรม

บทที่ ๓ เบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ?

สาระสำคัญ    เบญจศีล หมายถึง ศีล 5 ข้อ เป็นการรักษาเจตนาที่จะควบคุมกาย และวาจาให้เป็นปกติ คือ ไม่ทำบาป โดยการละเว้น 5 ประการ คือ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ ละเว้นจาก การลักขโมย ละเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ละเว้นจากการพูดปด ละเว้นจาก การเสพสุรา เบญจศีลทั้ง 5 ข้อจะเกิดขึ้นมาได้ก็เพราะบุคคล ผู้นั้นมีเบญจธรรมประจำตัว ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   1. ผู้เรียนบอกความหมายของเบญจศีลได้ 2. อธิบายองค์ประกอบของเบญจศีลได้ 3. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษาศีล 4. ผู้เรียนอธิบายความหมายคุณธรรม 9 ประการได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมายความสำคัญของเบญจศีลและคุณธรรม 9 ประการ เรื่องที่ 2 องค์ประกอบของคุณธรรม 9 ประการ

บทที่ ๔ คุณธรรมในการครองเรือน?

สาระสำคัญ    การครองเรือน หรือ การใช้ชีวิตสมรส คือ การที่ฝ่ายชายและฝ่ายหญิงมีความพอใจซึ่งกันและกัน ตกลงใจ ที่จะใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน พร้อมที่จะเผชิญปัญหาและมีความสุขร่วมกัน การมาอยู่ร่วมกันของคนสองจะต้อง มีการปรับตัวเข้าหาซึ่งกันและกันแล้ว จำเป็นต้องมีสิ่งยึดเหนี่ยวที่ช่วยให้ทั้งสองฝ่ายได้ใช้ชีวิตคู่จนแก่เฒ่า ตามสุภาษิตโบราณที่ว่า “ ถือไม้เท้ายอดทอง ตระบองยอดเพชร“ มีหลักคุณธรรมการครองเรือนของ ทั้งสองฝ่ายตามหลักพุทธศาสนา การใช้ธรรมะในการเลือกคู่ครองมีผลที่จะทำให้การใช้ชีวิตคู่ดำเนินไป ได้อย่างราบรื่นและอยู่จนแก่เฒ่า เป็นการเลือกโดยมองเห็นด้วยตา ใช้ธรรมะ สมชีวิธรรม 4  ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ผู้เรียนบอกความหมายคุณธรรมในการครองเรือน 2. อธิบายถึงหลักธรรมของการใช้ชีวิตคู่ได้ 3. ศึกษาหลักธรรมและนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 คุณธรรมในการครองเรือน เรื่องที่ 2 สมชีวิธรรม 4 เรื่องที่ 3 ฆราวาสธรรม 4

บทที่ ๕ ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ?

สาระสำคัญ    มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มนุษย์กับสังคมจึงแยกกันไม่ได้ เพราะมนุษย์เกิดมาต้องอาศัยสังคม พึ่งพาอาศัยและมีความสัมพันธ์ต่อกัน มีการจัดระเบียบในการมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีแบบแผน เพื่อเป็นหลักในการดำเนินชีวิตและการอยู่รอด และสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่ตนเองและสังคมเพราะมนุษย์มีแบบแผนในการดำรงชีวิต ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง   1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตในสังคมไทยได้ 2. อธิบายความต้องการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และทำหน้าที่ต่อสังคมได้ 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุการเกิดปัญหาในการดำเนินชีวิต 4. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าในการแก้ปัญหาในการเนินชีวิตและสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ทิศ 6 ปัจฉิมทิศ. เรื่องที่ 2 ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว เรื่องที่ 3 การสร้างประชาธิปไตยในครอบครัว เรื่องที่ 4 การวางแผนเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัว

แบบทดสอบหลังเรียน

เกี่ยวกับผู้สอน

ครู ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเมืองเก่า
5.00 (1 การให้คะแนน)

16 รายวิชา

174 ผู้เรียน

เรียน
thThai