0(0)

ศิลปศึกษา ทช11003 จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา

หลักสูตรรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา ทช11003 ศิลปศึกษา จำนวน 2 หน่วยกิต

ระดับประถมศึกษา

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ

รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทาง ทัศนศิลป์ดนตรี และนาฏศิลป์พื้นบ้าน สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม นําการผลิตเครื่อง ดนตรีพื้นบ้านไปเป็นแนวทางการประกอบอาชีพได้

ศึกษา เรียนรู้ เกี่ยวกับศิลปศึกษา ดังนี้คือ

ทัศนศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา ทัศนศิลป์ในการดำเนินชีวิต ทัศนศิลป์ที่ เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นต้นกำเนิดของงานทัศนศิลป์พื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ด้านวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถานของทัศนศิลป์ท้องถิ่น

ดนตรีพื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการของดนตรีประเภทต่างๆ คุณค่า ความงาม ความไพเราะของดนตรีพื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี ทางด้านดนตรีของท้องถิ่น การผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้าน

นาฏศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการ คุณค่า ความงามของนาฏศิลป์ พื้นบ้าน    การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น

การจัดประสบการณ์การเรียนรู

ศึกษาจากเอกสาร จากธรรมชาติ สื่อ ทุกประเภท และแหล่งเรียนรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้เห็นคุณค่าและชื่นชมความงาม ของ ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ และการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี สิ่งแวดล้อม ของทัศนศิลป์ พื้นบ้าน การวัดและประเมินผล ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดย วิธีการทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์

สารบัญรายวิชา

17 วิดีโอ

บทที่ 1 เรื่อง การตกแต่งที่อยู่อาศัย?

เกร็ดความรู การสร้างบ้านควรที่จะมีการออกแบบตกแต งภายในไปพร อมกันด วย เพื่อเป นความลงตัวในการ ออกแบบก อสร างและการวางสายไฟฟ า ท อน้ําภายในระหว างก อสร าง หากผู รับเหมาก อสร างและ ตกแต งภายในเป นผู เดียวกัน การประสานงานในสจะเปวนนี้นไปอย างราบรื่น ทําให งานเสร็จได รวดเร็วขึ้นอีกทั้งการก อสร างบ านและตกแต งภายในไปพร อมกัน ยังสามารถช วยประหยัด งบประมาณในการสร างบ านให น อยลงอีกด วย
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. ศึกษาการจัดวางพื้นที่
2. กําหนดความต้องการ
3. การวางผัง
4. การจัดทำรายละเอียดต่างๆ
5. การจัดวางเครื่องเรือน
6. ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงการใช้สอย
7. ความสมดุล
8. การจัดระบบทางเดินภายในแต่ละห้อง
แบบทดสอบหลังเรียน

บทที่ 2 เรื่อง ภูมิปัญญาทางดนตรี?

คำอธิบายรายวิชา ทช11003 ศิลปศึกษา จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทาง ทัศนศิลป์ดนตรี และนาฏศิลป์พื้นบ้าน สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม นําการผลิตเครื่อง ดนตรีพื้นบ้านไปเป็นแนวทางการประกอบอาชีพได้ ศึกษา เรียนรู้ เกี่ยวกับศิลปศึกษา ดังนี้คือ ทัศนศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา ทัศนศิลป์ในการดำเนินชีวิต ทัศนศิลป์ที่ เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นต้นกำเนิดของงานทัศนศิลป์พื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ด้านวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถานของทัศนศิลป์ท้องถิ่น ดนตรีพื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการของดนตรีประเภทต่างๆ คุณค่า ความงาม ความไพเราะของดนตรีพื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี ทางด้านดนตรีของท้องถิ่น การผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้าน นาฏศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการ คุณค่า ความงามของนาฏศิลป์ พื้นบ้าน    การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสาร จากธรรมชาติ สื่อ ทุกประเภท และแหล่งเรียนรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้เห็นคุณค่าและชื่นชมความงาม ของ ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ และการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี สิ่งแวดล้อม ของทัศนศิลป์ พื้นบ้าน การวัดและประเมินผล ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดย วิธีการทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์

บทที่ 3 เรื่องนาฏศิลป์พื้นบ้าน และภูมิปัญญาท้องถิ่น?

คำอธิบายรายวิชา ทช11003 ศิลปศึกษา จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทาง ทัศนศิลป์ดนตรี และนาฏศิลป์พื้นบ้าน สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ได้อย่างเหมาะสม นําการผลิตเครื่อง ดนตรีพื้นบ้านไปเป็นแนวทางการประกอบอาชีพได้ ศึกษา เรียนรู้ เกี่ยวกับศิลปศึกษา ดังนี้คือ ทัศนศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา ทัศนศิลป์ในการดำเนินชีวิต ทัศนศิลป์ที่ เกี่ยวข้องกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นต้นกำเนิดของงานทัศนศิลป์พื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ ภูมิปัญญา ด้านวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถานของทัศนศิลป์ท้องถิ่น ดนตรีพื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการของดนตรีประเภทต่างๆ คุณค่า ความงาม ความไพเราะของดนตรีพื้นบ้าน การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี ทางด้านดนตรีของท้องถิ่น การผลิตเครื่องดนตรีพื้นบ้าน นาฏศิลป์พื้นบ้าน ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมา วิวัฒนาการ คุณค่า ความงามของนาฏศิลป์ พื้นบ้าน    การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ การอนุรักษ์ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสาร จากธรรมชาติ สื่อ ทุกประเภท และแหล่งเรียนรู้ ฝึกจินตนาการ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ สร้างสรรค์ ฝึกปฏิบัติ ทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย ฯลฯ ให้เห็นคุณค่าและชื่นชมความงาม ของ ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ และการอนุรักษ์ ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี สิ่งแวดล้อม ของทัศนศิลป์ พื้นบ้าน การวัดและประเมินผล ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิ้นงาน ผลงาน โดย วิธีการทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์

เกี่ยวกับผู้สอน

จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี เอกการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัจจุบัน เป็นครู กศน.ตำบลปากแคว
0 (0 การให้คะแนน)

35 รายวิชา

193 ผู้เรียน

เรียน
thThai