บทที่ 1 ทักษะทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์?
บทที่ 1 ทักษะทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สาระสําคัญ
วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้ทักษะต่าง ๆ สํารวจและตรวจสอบ ทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ และนําผลที่ได้มาจัดให้เป็น ระบบ และตั้งขึ้นเป็นทฤษฎี ซึ่งทักษะทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยกัน 13 ทักษะในการ ดําเนินการหาคําตอบเรื่องใดเรื่องหนึ่งนอกจากจะต้องใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์แล้ว ในการหา คําตอบจะต้องมีการกําหนดลําดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบตั้งแต่ต้นจนจบเรียกลําดับขั้น ในการหาคําตอบเหล่านี้ว่า กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
เรื่องที่ 1 อธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 2 อธิบายขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 3 อธิบายและบอกวิธีการใช้วัสดุและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 3 วัสดุ และ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 1 อธิบายธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และทักษะทางวิทยาศาสตร์00:00:00
เรื่องที่ 2 อธิบายขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์00:00:00
เรื่องที่ 3 อธิบายและบอกวิธีการใช้วัสดุและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์00:00:00
ใบงานบทที่ ๑
บทที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์?
บทที่ 2 โครงงานวิทยาศาสตร์
สาระสําคัญ
โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษาค้นคว้า โดยที่ผู้เรียนจะเป็นผู้ดําเนินการ ด้วยตนเองทั้งหมด องทั้งหมด ตั้งแต่เริ่มวางแผน ในการศึกษาค้นคว้า การเก็บรวบรวมข้อมูลจนถึงการ แปลผล สรุปผล และการเสนอผลการศึกษา โดยมีผู้ชํานาญการเป็นผู้ให้คําปรึกษา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายประเภท เลือกหัวข้อ วางแผน วิธีนําเสนอและประโยชน์ของโครงงานได้
2. วางแผนและทําโครงงานวิทยาศาสตร์ได้
3. อธิบายและบอกแนวทางในการนําผลจากโครงงานไปใช้ได้
ขอบข่ายเนื้อ
เรื่องที่ 1 ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 3 การนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่องที่ 1 ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์00:00:00
เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร์00:00:00
เรื่องที่ 3 การนําเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์00:00:00
ใบงานบทที่๒
บทที่ 3 เซลล์?
บทที่ 3 เซลล์
สาระสําคัญ
ร่างกายมนุษย์ พืชและสัตว์ ต่างประกอบด้วยเซลล์ จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ กลไกและการรักษาดุลยภาพของพืช สัตว์และมนุษย์ ป้องกันดูแลรักษา ภูมิคุ้มกัน ร่างกาย กระบวนการแบ่งเซลล์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายรูปร่าง ส่วนประกอบ ความแตกต่าง ระบบการทํางาน การรักษาดุลยภาพ ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
2. อธิบายการรักษาดุลยภาพของพืชและสัตว์ และมนุษย์และการนําความรู้ไปใช้ได้
3. ศึกษา สืบค้นข้อมูลและอธิบายกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส และโมโอซิสได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 เซลล์
เรื่องที่ 2 กระบวนการแบ่งเซลล์ แบบไมโทซีส และไมโอซิส
เรื่องที่ 1 เซลล์00:00:00
เรื่องที่ 2 กระบวนการแบ่งเซลล์ แบบไมโทซีส และไมโอซิส00:00:00
ใบงานบทที่๓
บทที่ 4 พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ?
บทที่ 4 พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
สาระสําคัญ
สิ่งมีชีวิตย่อมมีลักษณะเฉพาะของแต่ละสปีชีส์ สิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกันย่อมมีความ
แตกต่างกันน้อยกว่าสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์ ความแตกต่างเหล่านี้เป็นผลจากพันธุกรรมที่ต่างกัน สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะมีลักษณะคล้ายกัน ซึ่งความแตกต่างเหล่านี้ ก่อให้เกิดความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิต หรือความหลากหลายทางชีวภาพ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายกระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การแปรผันทางพันธุกรรม การผ่าเหล่า และการ
เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
2. อธิบายลักษณะทางพันธุกรรมได้
3. อธิบายความหลากหลายทางชีวภาพและการจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิตได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เรื่องที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ
เรื่องที่ 1 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม00:00:00
เรื่องที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพ00:00:00
ใบงานบทที่๔
บทที่ 5 เทคโนโลยีชีวภาพ?
บทที่ 5 เทคโนโลยีชีวภาพ
สาระสําคัญ
เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นเทคโนโลยีที่นําเอาความรู้ทางชีววิทยามาใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจําวันแก่มนุษย์ตั้งแต่อดีต เช่น การผลิตขนมปัง น้ําส้มสายชู น้ําปลา ซีอิ้ว และ โยเกิร์ต เป็นต้น ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพทั้งสิ้น รวมถึงการผลิต ยาปฏิชีวนะ ตลอดจนการปรับปรุงพันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์ชนิดต่าง ๆ ในปัจจุบัน
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ และประโยชน์ได้
2. อธิบายผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้ 3. อธิบายบทบาทของภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่องที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่องที่ 3 เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจําวัน
เรื่องที่ 4 ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่องที่ 5 ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
เรื่องที่ 1 ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ00:00:00
เรื่องที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อเทคโนโลยีชีวภาพ00:00:00
เรื่องที่ 3 เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจําวัน00:00:00
เรื่องที่ 4 ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ00:00:00
เรื่องที่ 5 ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ00:00:00
ใบงานบทที่๕
บทที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม?
สาระการเรียนรู้
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กับชีวิตเราอย่างมากมาย ฉะนั้น เราจําเป็นต้องศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมในทุกระดับและแนวทางในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตได้
2. อธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ
และระดับโลกได้
3. อธิบายสาเหตุของปัญหา วางแผน และลงมือปฏิบัติได้
4. อธิบายการป้องกัน แก้ไข เฝ้าระวัง อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ 5. อธิบายปรากฏการณ์ของธรณีวิทยาที่มีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
6. อธิบาย ปรากฏการณ์ สภาวะโลกร้อน สาเหตุและผลกระทบต่อชีวิตมนุษย์
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
เรื่องที่ 2 ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources)
เรื่องที่ 3 ผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ แนวทางป้องกันแก้ไข
เรื่องที่ 4 การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เรื่องที่ 5 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
เรื่องที่ 6 ปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อนและผลกระทบจากต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่องที่ 1 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต00:00:00
เรื่องที่ 2 ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources)00:00:00
เรื่องที่ 3 ผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ แนวทางป้องกันแก้ไข00:00:00
เรื่องที่ 4 การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม00:00:00
เรื่องที่ 5 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา00:00:00
เรื่องที่ 6 ปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อนและผลกระทบจากต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม00:00:00
ใบงานบทที่๖
บทที่ 7 ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตุกัมมันตภาพรังสี?
บทที่ 7 ธาตุ สมบัติของธาตุและธาตุกัมมันตภาพรังสี
สาระสําคัญ
ทฤษฎี โครงสร้าง และการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ สมบัติธาตุกัมมันตภาพรังสีและกัมมันตภาพรังสี ประโยชน์และ
ประโยชน์ของตารางธาตุ ผลกระทบจากกัมมันตภาพรังสี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ สมการและปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจําวัน
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 โครงสร้างและการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
เรื่องที่ 2 ธาตุและตารางธาตุ
เรื่องที่ 3 ธาตุกัมมันตภาพรังสี
เรื่องที่ 1 โครงสร้างและการจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม00:00:00
เรื่องที่ 2 ธาตุและตารางธาตุ00:00:00
เรื่องที่ 3 ธาตุกัมมันตภาพรังสี00:00:00
ใบงานบทที่๗
บทที่ 8 สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี?
บทที่ 8 สมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี
สาระสําคัญ
การเกิดสมการเคมีและปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมี ตลอดจนผลที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายการเกิดสมการเคมีและปฏิกิริยาเคมีและดุลสมการเคมีได้
2. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อปฏิกิริยาเคมีได้
3. อธิบายผลที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 สมการเคมี
เรื่องที่ 2 หลักการเขียนสมการเคมี
เรื่องที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจําวัน
เรื่องที่ 1 สมการเคมี00:00:00
เรื่องที่ 2 หลักการเขียนสมการเคมี00:00:00
เรื่องที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจําวัน00:00:00
ใบงานบทที่๘
บทที่ 9 โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน?
บทที่ 9 โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน
สาระสําคัญ
สิ่งมีชีวิตประกอบด้วย ธาตุและสารประกอบ ธาตุเป็นหน่วยเล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต โดยพบว่าธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตในปริมาณมาก คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจนซึ่งรวมตัวกันเป็นสารประกอบจํานวนมากในเซลล์ สารในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตที่มี ธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า สารอินทรีย์ (Organic substance) ส่วนสารประกอบในเซลล์ที่ไม่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ เรียกว่า สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
สารอินทรีย์ (Organic substance) ที่พบในธรรมชาติทั้งหลายมีแหล่งกําเนิดจาก สิ่งมีชีวิตแทบทั้งสิ้น โมเลกุลของสารอินทรีย์เหล่านี้มีต่างๆกัน ตั้งแต่ขนาดเล็กโครงสร้างแบบ ง่ายๆ จนถึงขนาดใหญ่มีโครงสาร้างเป็นสายยาวๆ หรือขดตัวเป็นรูปร่างต่างๆ โมเลกุลของ สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิตที่จัดเป็นสารชีวโมเลกุล (Biological molecule) และมี ความสําคัญในกระบวนการทุกชนิดในสิ่งมีชีวิต ได้แก่ โปรตีน (Protein) คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) และไขมัน(Lipid)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของโปรตีนได้
2. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของคาร์โบไฮเดรตได้
3. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภทการเกิด และประโยชน์ของไขมันได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 โปรตีน
เรื่องที่ 2 คาร์โบไฮเดรต
เรื่องที่ 3 ไขมัน
เรื่องที่ 1 โปรตีน00:00:00
เรื่องที่ 2 คาร์โบไฮเดรต00:00:00
เรื่องที่ 3 ไขมัน00:00:00
ใบงานบทที่๙
บทที่ 10 ปิโตรเลียมและพอลิเมอร์?
บทที่ 10 ปิโตรเลียมและพอลิเมอร์
สาระสําคัญ
การเกิดปิโตรเลียม แหล่งปิโตรเลียม การกลั่นปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
ประโยชน์ และผลจากการใช้ปิโตรเลียม
การเกิด และสมบัติของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ในชีวิตประจําวัน
การเกิด และผลกระทบจากการใช้พลาสติก ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ เส้นใย ธรรมชาติและเส้นใยสังเคราะห์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายหลักการกลั่นปิโตรเลียมโดยวิธีการกลั่นแบบลําดับส่วน ผลิตภัณฑ์และ
ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
2. อธิบาย ความหมาย ประเภท ชนิดการเกิดและสมบัติของพอลิเมอร์ พอลิเมอร์ ในชีวิตประจําวัน ผลกระทบจากการใช้พลาสติก ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ เส้นใยธรรมชาติ และเส้นใยสังเคราะห์
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ปิโตรเลียม
เรื่องที 2 พอลิเมอร์
เรื่องที่ 1 ปิโตรเลียม00:00:00
เรื่องที 2 พอลิเมอร์00:00:00
ใบงานที่ ๑๐
บทที่ 11 สารเคมีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม?
บทที่ 11 สารเคมีกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สาระสําคัญ
ชีวิตประจําวันของมนุษย์ที่จะดํารงชีวิตให้มีความสุขนั้น ร่างกายต้องสมบูรณ์แข็งแรง
สิ่งที่จะมาบั่นทอนความสุขของมนุษย์ คือสารเคมีที่เข้าสู่ร่างกายจึงจําเป็นต้องรู้ถึงการใช้
สารเคมี ผลกระทบจากการใช้สารเคมี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายความสําคัญและความจําเป็นที่ต้องใช้สารเคมีได้
2. อธิบายวิธีการใช้สารเคมีบางชนิดได้ถูกต้อง
3. อธิบายผลกระทบที่เกิดจากการใช้สารเคมีได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความสําคัญของสารกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่องที่ 2 ความจําเป็นที่ต้องใช้สารเคมี
เรื่องที่ 3 การใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย
เรื่องที่ 4 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี
เรื่องที่ 1 ความสําคัญของสารกับชีวิตและสิ่งแวดล้อม00:00:00
เรื่องที่ 2 ความจําเป็นที่ต้องใช้สารเคมี00:00:00
เรื่องที่ 3 การใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย00:00:00
เรื่องที่ 4 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมี00:00:00
ใบงานบทที่๑๑
บทที่ 12 แรงและการเคลื่อนที่?
บทที่ 12 แรงและการเคลื่อนที่
สาระสําคัญ
แรงและการกระทําต่อวัตถุ ความหมายของแรง การเคลื่อนที่ของวัตถุ ความเร่ง ความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็ก และ
ประโยชน์ของสนามแม่เหล็ก
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ในสนามโน้มถ่วง สนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ และการนําไปใช้ประโยชน์ได้
2. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติ ประโยชน์ และมลภาวะจากเสียง ประโยชน์และโทษของ ธาตุกัมมันตรังสีต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
ขอบข่ายเนื้อหา
1. แรงและการเคลื่อนที่
เรื่องที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงและการเคลื่อนที่ในสนามโน้มถ่วงสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
เรื่องที่ 2 แรงและความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ของอนุภาค
เรื่องที่ 3 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
2. พลังงานเสียง
เรื่องที่ 1 การเกิดเสียง
เรื่องที่ 2 สมบัติของเสียง
เรื่องที่ 3 ประโยชน์ของพลังงานเสียง
เรื่องที่ 4 อันตรายจากเสียง
1. แรงและการเคลื่อนที่00:00:00
2. พลังงานเสียง00:00:00
ใบงานบทที่ ๑๒
บทที่ 13 เทคโนโลยีอากาศ?
บทที่ 13 เทคโนโลยีอากาศ
สาระสําคัญ
ห้วงอวกาศเป็นสิ่งที่ไกลเกินตัว แต่มีความจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของมวลมนุษย์
จึงจําเป็นต้องศึกษา ห้วงอวกาศโดยนําเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1. บอกความหมาย ความสําคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศได้
2. อธิบายและระบุประเภทของเทคโนโลยีอวกาศได้
3. อธิบายการนําเทคโนโลยีอวกาศไปใช้ประโยชน์ได้
4. บอกโครงการสํารวจอวกาศที่สําคัญในปัจจุบันได้
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศ
เรื่องที่ 2 ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ
เรื่องที่ 3 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอวกาศ
เรื่องที่ 4 โครงการสํารวจอวกาศที่สําคัญในปัจจุบัน
เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศ00:00:00
เรื่องที่ 2 ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ00:00:00
เรื่องที่ 3 ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอวกาศ00:00:00
เรื่องที่ 4 โครงการสํารวจอวกาศที่สําคัญในปัจจุบัน00:00:00
ใบงานบทที่๑๓
บทที่ 14 อาชีพช่างไฟฟ้า?
บทที่ 14 อาชีพช่างไฟฟ้า
ประเภทของไฟฟ้า มีอะไรบ้าง
ประเภทของไฟฟ้า มี 2 แบบ ดังนี้
1. ไฟฟ้าสถิต ซึ่งเกิดจากการเสียดสีของวัตถุ 2 ชนิด มาถูกัน เช่น แท่งอําพันกับผ้าขนสัตว์
2. ไฟฟ้ากระแส เกิดจากอิเล็กตรอนจากแหล่งกําเนิดไหลผ่านตัวนําไปยังที่ต้องการใช้ ไฟฟ้า มี 2 แบบ ดังนี้
1. ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) มีทิศทางการไหล และขนาดคงที่ เช่น แบตเตอรี่
2. ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current : AC) มีทิศทางการไหลของ กระแสสลับไปสลับมา และขนาดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ใช้ภายในบ้าน เช่น โทรทัศน์
คลิปที่ 1 ไฟฟ้าสถิต
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายการเกิดไฟฟ้าสถิตได้อย่างถูกต้อง
https://www.youtube.com/watch?v=9gaLIvW1F3I
คลิปที่ 2 ไฟฟ้ากระแส
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายการเกิดไฟฟ้ากระแสได้อย่างถูกต้อง
https://www.youtube.com/watch?v=xiA54SwtrOY
วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือช่างไฟฟ้า มีอะไรบ้าง
วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือช่างไฟฟ้า มีดังนี้
1. ไขควง มี 2 แบบ คือ ไขควงปากแบน และไขควงแบบฟิลลิป หรือปากสี่แฉก
2. มีด ใช้ในการปอกสาย ตัด ฉนวนสายไฟฟ้า
3. คีม ใช้ในการบีบ ตัด ม้วนสายไฟฟ้า มีหลายแบบ คือ คีมตัด(ปากนกแก้ว) คีมปากจิ้งจก คีมปากแบน คีมปากกลม และคีมปอกสายไฟฟ้า
1. ไฟฟ้าสถิต00:00:00
2. ไฟฟ้ากระแส00:00:00
ใบงานบทที่๑๔