หนังสือแบบเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ พค21001

แบบทดสอบก่อนเรียน

บทที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

บทที่ 2 เศษส่วนและทศนิยม

บทที่ 3 เลขยกกำลัง

บทที่ 4 อัตราส่วนและร้อยละ

บทที่ 5 การวัด

บทที่ 6 ปริมาตรและพื้นที่ผิว

บทที่ 7 คู่อันดับและกราฟ

บทที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ

บทที่ 10 ความน่าจะเป็น

บทที่ 11 การใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในงานอาชีพ

แบบทดสอบหลังเรียน

ใบงาน พค21001 คณิตศาสตร์ ระดับมัธยมตอนต้น

เรื่องที่ 2 การนำเสนอข้อมูล

การนำเสนอข้อมูลโดยบทความ (Text Presentaion)

    การนำเสนอข้อมูลโดยบทความ มีรูปแบบการนำเสนอเป็นบทความสั้นๆและมีข้อมูลตัวอยู่ด้วย ทำให้อ่านเข้าใจง่าย นิยมเสนองานทางวิทยุ โทรทัศน์ หรืออาจเป็นบทความสั้นๆและมีข้อเลขอยู่ด้วย ทำให้อ่านเข้าใจง่าย นิยมนำเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์หรืออาจเป็นบทความในหนังสือพิมพ์ วารสารและรายงานต่างๆดังต่อไปนี้ตัวอย่าง 1 “ปี พ.ศ. 2548 มีจำนวนผู้จบการระดับปริญญาตรีจากมหาลัยของรัฐประมาณ 130,000 คน ซึ่งคาดว่าในปีการศึกษา 2549 เพิ่มขึ้นเป็น 150,000”
ตัวอย่าง 2 “ในปี พ.ศ.2549 ชาวสวนลำไย จังหวัดเชียงใหม่ สามารถส่งลำไยออกออกสู่ตลาดเป็นจำนวนเงิน 10 ล้านบาท ซึ่งล้านบาท ซึ่งมากว่าปี 2548 จำนวน 2.5 ล้านบาท
 
การนำเสนอโดยบทความกึ่งตาราง(Semi- Tabular Presetaion)
    เป็นการนำข้อมูลโดยแยกตัวเลขออกจากข้อความ หรือการนำเสนอบทความแต่มีการตั้งแนวตัวเลขขึ้นในบทความ เพื่อให้เห็นตัวเลขชัดเจนและมีการเปรียบเทียบเพื่อความสะดวกในการเข้าใจดังนี้อย่างต่อไปนี้
ภูมิลำเนาของนักศึกษาวิทยาลัยแห่งหนึ่งระหว่างปี 2546-2549

 

 
 

จำนวน(คน)

ภูมิลำเนา

2,546

2,547

2,548

2,549

กรุงเทพมหานคร

2,540

2,590

2,556

2,618

ภาคเหนือ

350

244

310

287

ภาคกลาง

825

1,300

1,310

1,544

ภาคใต้

408

325

368

387

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

520

458

488

481

รวม

4,643

4,917

5,032

5,317

 
การนำเสนอโดยตาราง (Tabular Presentation)
    เป็นการนำเสนอข้อมูลให้เป็นระเบียบ รูปแบบของตารางขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการนำเสนอข้อมูล
ส่วนประกอบของตารางสถิติที่ควรมี
    1) หมายถึงเลขตาราง(table number)
    2) ชื่อเรื่อง(tile)
    3) หมายเหตุควรมีต่อท้ายให้ทราบแหล่งที่มาจ้อมูล พร้อมทั้งอธิบายให้ทราบว่าข้อมูลในตารางมาจากไหน เป็นข้อมูลประเภทใด เพื่อทำให้เข้าใจดียิ่งขึ้น
    4) หัวเรื่อง เป็นส่วนประกอบของหัวขั้ว เพื่อให้ได้ความสมบูรณ์จึ้นหรือเป็นตำอธิบายตัวเลขในแนวนอน
    5) ต้นขั้วประกอบด้วย หัวขั้วแลพต้นขั้ว หัวขั้วเป็นคำอฑิบายเกี่ยวกัยตัวเลจในแนวตั้งอาจมีหลายขั้ว
    6) ตัวเรื่องประกอบด้วยข้อมูลที่เป็นตัวเลข
 
—- หัวขั้ว (Stup head) —-
 
—- หัวเรื่อง (Caption) —-
 
—- ต้นขั้ว (Stup Entries) —-
 
—- ตัวเรื่อง (Body) —-

 

    สถิติปิมาณการขายสินค่าเครื่องใช้ไฟฟ้าของบริษัทแห่งหึ่ง ปี 2541-2548 มูลค่า : ล้านบาท
 
ปี โทรทัศน์ วิทยุ เครื่องเล่นวีซีดี
2541 30.15 5.05 10.60
2542 31.05 5.10 10.46
2543 32.67 6.10 13.80
2544 36.75 6.80 15.75
2545 38.42 7.05 16.05
2546 40.85 7.50 17.77
2547 42.55 7.90 18.35
2548 45.25 8.30 20.50
รวม 298.69 52.80 123.28
 
การนำเสนอโดยกราฟหรือแผนภูมิ  ( graphiacl presentaion)
    เมื่อได้จัดข้อมูลที่จะนำเสนอแล้ว เราอาจจะพิจารณาในการนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟหรือแผนภูมิซึ่งเป็นวิธีที่ใช้ได้ดี เพราะรูปภาพที่แสดงข้อมูลจะทำให้เกิดความสนใจ ทำให้อ่านเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็วกว่าวิธีอื่นๆ การนำเสนอด้วยกราฟหรือแผนภูมิมีหลายลักษณะ ดังนี้
    1)แผนภูมิแท่งหรือกราฟแท่ง(bar chart)
    2)กราฟเส้น (line graph)
    3)แผนภูมิวงกลม (poe chart)
    4) แผนภูมิภาพ(pictogram)
การนำเสนอโดยแผนภูมิแท่งหรือกราฟแท่ง
             เป็นแผนภูมิที่ประกอบด้วยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความยาวของแต่ละรูปเป็นขนานของข้อมูล มีช่องว่างระหว่างแท่ง แต่ละแท่งมีความกว้างคงที่ ใช้ในการการเปรียบเทียบรายการข้อมูลมี่แตกต่างกันหลายรายการ หรือข้อมูลที่จำแนกตามคุณภาพ เวลา หรือความถี่ซึ่งผู้คนเข้าใจง่ายด้วยตนเอง
ตัวอย่าง แผนภูมิแสดงจำนวน

 

 
ตัวอย่าง แผนภูมิแสดงเปรียบเทียบ
 
การนำเสนอโดยกราฟเส้น(line graph)

            การนำเสนอโดยกราฟเส้นเป็นที่นิยมใช้กันมากใช้กับข้อมูลอนุกรมซึ่งแสดงการเปลื่ยนแปลงลำดับก่อนหลังของเวลาที่ข้อมูลนั้นเกิดและมีจำนวนมากเป็นการสร้างที่ง่ายอาจเป็นเส้นตรงหรือเส้นโค้งก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะข้อมูลที่อยู่ใช้เปรียบเทียบระหว่างหลายรายการในระยะยาว

ตัวอย่าง กราฟเส้นแสดงข้อมูล
 

 

การนำเสนอโดยแผนภูมิวงกลม
          เป็นการนำเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้ในรูปวงกลมโดยมีการแบ่างพื้นภายในวงกลมออกเป็นส่วนๆ ในการเปรียบเทียบซึ่งมีหลายลักษณะของกลุ่มประชาชนกร การสร้างแผนภูมิวงกลมมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
            1) แผนภูมิวงกลมจะแสดงถึงร้อยละของจำนวนค่าที่สังเกตซึ่งเท่ากับค่าสังเกตในแต่ละชั้น เมื่อเทียบกับข้อมูล
            2) พื้นที่วงกลมทั้งหมดเป็น 100 ส่วนเท่ากับ 360 หรือ 360 เท่ากับ 100เปอร์เซนต์(1เปอร์เซนต์ กับ 3.6)
           3) แบ่งพื้นที่วงกลมตามค่าร้อยละที่คำนวณได้ โดยเรียงจากมากไปน้อย
           4) ทำให้เห็นข้อแตกต่างในแต่ละส่วนเพื่แความสะดวกในการเปรียบเทียบ
ตัวอย่าง ในการสำรวจของอาชีพผู้ปกครองของนักศึกษา 3000 คน จำแนกเป็นทำธุรกิจส่วนตัว รัฐวิสาหกิจ รับราชการ บริษัทเอกชน อื่นๆ ดังนี้
 

อาชีพผู้ปกครอง

จำนวน

ธุรกิจส่วน

40

รัฐวิสาหกิจ

30

รับราชการ

60

บริษัทเอกชน

160

อื่นๆ

10

รวม

300

 วิธีทำ 1.  หาค่าร้อยละของความถี่แต่ละอาชีพ

อาชีพผู้ปกครอง จำนวน ร้อยละ องศา
ธุรกิจส่วนตัว 45 15 54
รัฐวิสาหกิจ 30 10 36
รับราชการ 60 20 72
บริษัทเอกชน 150 50 180
อื่นๆ 15 5 18
  300 100 360

2.  สร้างกลม และแบ่งเป็นส่วนๆ โดยให้ 1 เปอณ์เซนต์ เท่ากับ 3.6

 
 

    การนำเสนอโดยแผนกภูมิภาพ(pictogram)
เป็นแผนภูมิที่ใช้รูปภาพแทนค่าตัวเลขจะนวนหนึ่งของข้อมูลที่นำเสนอ เช่นภาพรถยนต์ 1 คันแทนจำนวนรถสามารถที่ นำ เสนอ 1000 คน หรือภาพคน 1 ภาพแทนประชากรที่นำเสนอ 100 คน ซึ่งรูปภาพนั้ยจะแทยของจริงจำนวนเท่าไรก็ได้ แล้วแต่ปรริมาณมากน้อยของข้อมูลที่นำเสนอจะให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่าย อปลความหมายได้ทันทีและน่าสนใจมากขึ้น

thThai